บทที่ 6 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล

6. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
                    6.1 ประโยชน์และการเขียนความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล โดยปกติเราจะพบความสัมพันธ์ในรูปแบบ
ต่างๆเมื่อกำหนดสมการมาให้โดยมีค่า x และ y ซึ่ง x เป็นตัวแปรอิสระ และ y เป็นตัวแปรตาม
เช่น กำหนดสมการที่มีความสัมพันธ์เป็นเส้นตรง y = 2x+5  จงหาค่าของ y เมื่อ x = 10 เป็นต้น
หรืออาจจะเป็นสมการพาราโบลา   สมการเอกซ์โพเนนเชียลฯลฯ
                แต่ในบทนี้โจทย์กำหนดความสัมพันธ์ระหว่าง x และ y ให้ แล้วเราต้องสร้างสมการขึ้น
มาเอง เช่นกำหนดความสัมพันธ์ของ x และ y ดังนี้
x
0
1
2
3
4
y
2
5
7
10
11
ถ้า x เท่ากับ 8 แล้ว y มีค่าเท่ากับเท่าใด. ถ้าเราดูเฉพาะความสัมพันธ์ระหว่าง x กับ y เราไม่สามารถหาค่า y ได้เมื่อ x = 8  เพราะฉะนั้นเราต้องสร้างสมการขึ้นมาก่อน การที่โจทย์กำหนด
ความสัมพันธ์ของ x และ y มาให้เราจะต้องเขียนแผนภาพการกระจายดูก่อนว่ามีความสัมพันธ์
ลักษณะใด (ถ้าโจทย์บอกมาว่าเป็นความสัมพันธ์ลักษณะใดเราไม่ต้องเขียนแผนภาพการกระจาย)
        ในการเขียนแผนภาพการกระจายเราเขียนคร่าวๆเพื่อดูแนวโน้มว่ามีความสัมพันธ์ลักษณะใด

เนื้อหาในบทนี้เราจะศึกษาเฉพาะความสัมพันธ์ที่มีลักษณะ เส้นตรง  พาราโบลา  เอกซ็โพเนนเชียล

ตัวอย่างที่ 1 จากความสัมพันธ์ต่อไปนี้ จงเขียนแผนภาพการกระจายของความสัมพันธ์
x
2
3
4
5
6
7
8
y
2
3
3
4
5
7
8
วิธีทำ

                                                                                                                                                                   
ตัวอย่างที่ 2 ให้นักเรียนเขียนแผนภาพการกระจายของความสัมพันธ์ต่อไปนี้

x
1
2
3
4
5
6
7
8
9
y
14
10
6
4
3
4
5
6
10


 
                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                   
                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                               


ตัวอย่างที่ 3 ให้นักเรียนเขียนแผนภาพการกระจายของความสัมพันธ์ต่อไปนี้

x
1
1.5
2
2.5
3
3.5
4
4.5
5
y
2
3
4
6
8
12
16
22
30

                                                                                                                                                                                                                                                     
                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                            



                6.2 สมการความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันและการหาค่าคงตัวโดยใช้สมการปกติ ที่อยู่ในรูป เส้นตรง พาราโบลาและเอกซ์โพเนนเชียล  พร้อมทั้งทำนายค่าตัวแปรตามเมื่อกำหนดตัวแปรอิสระ
                6.2.1 สมการความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่อยู่ในรูปเส้นตรง
 y = mx + cมีสมการเป็น                                          
เมื่อ  y คือตัวแปรตาม และ x คือตัวแปรอิสระ
  m คือความชัน และ c คือระยะห่างจากจุด (0,0)ไปยังที่กราฟ
 ตัดแกน เช่น y = 5x + 3 , m = 5 , c = 3

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                               
การที่เราจะสร้างสมการ y = mx + c ,มีตัวไม่ทราบค่า 2 ตัวคือ m กับ c จึงจะต้องหาสมการปกติ
ของเส้นตรงคือ                                                                                                                                  



ตัวอย่างที่ 1 จากความสัมพันธ์ของข้อมูลต่อไปนี้
                                                ปริมาณปุ๋ย(กก./ไร่)                    ผลผลิต(กก./ไร่)
1                                                                                                                                                                        8
2                                                                                                                                                                        9
3                                                                                                                                                                        10
4                                                                                                                                                                        12
5                                                                                                                                                                        15
ก.      จงเขียนแผนภาพการกระจาย




                                                                                               



   
ข.      ถ้าใส่ปุ๋ย 3.5 กก./ไร่  จะให้ผลผลิตเท่าใด.

วิธีทำ  จากสมการเส้นตรง y =  mx + c   หา  m , c  จากสมการปกติ


สร้างตารางเพื่อแทนค่าในสมการปกติ
แทนค่าในสมการปกติจะได้ ……. =……. m +…………c………………..(1)
                                             ……. =  ……m + …………c………………(2)
                               3(1),      162 =   45m + 15c………………(3)
                          (2) – (3),      17 =   10 m  จะได้  m = 1.7
แทนค่า  m = 1.7 ใน (1) , จะได้ c = 5.7
แทนค่า  m = 1.7 และ c = 5.7 ลงในสมการรูปทั่วไป  y = mx + c
จะได้สมการของความสัมพันธ์คือ   y = ………x + …………
ถ้า  x = ………จะได้   y =  ……. (…….) + ………  = …………                                    
แสดงว่าใส่ปุ๋ย ……… กก./ไร่ จะให้ผลผลิต  ………. ….. กก./ไร่
ตัวอย่างที่  2  จากการสอบถามถึงรายจ่ายของครอบครัว 8 ครอบครัวในท้องที่แห่งหนึ่งที่มีรายได้
ต่อเดือนตั้งแต่ครอบครัวละ 1,000 บาท ถึง 14,000 บาท ปรากฏผลดังตารางต่อไปนี้
. จงเขียนแผนภาพการกระจายของข้อมูล
. ถ้าครอบครัวในท้องที่นั้นมีรายได้ เดือนละ 5,000 บาท ให้ทำนายรายจ่ายของครอบครัวนั้น
วิธีทำ   จากสมการเส้นตรง y =  mx + c   หา  m , c  จากสมการปกติ
สร้างตาราง
แทนค่าในสมการปกติจะได้   …… = ……m + …..c………………….(1)
                                             ……... =  ……m + ……c………………(2)
จากการแก้สมการจะได้  m = 0.636  ,  c =  0.545
จะได้สมการของความสัมพันธ์คือ      y =  ……… x +……..
ถ้า  x = …..จะได้   y = ………(…) + …….. = ………….. พันบาท ซึ่งก็คือ…………….บาท
แสดงว่า ถ้ามีรายได้เดือนละ…………….  บาท/เดือน จะมีรายจ่ายประมาณ …………. บาท/เดือน
  . ถ้าครอบครัวหนึ่งในท้องที่นั้นมีรายจ่ายต่อเดือน 3,500 บาท จงทำนายรายได้ของครอบครัวนั้น
วิธีทำ   ถ้าต้องการประมาณหรือทำนายค่าตัวแปรใดก็ต้องให้ตัวแปรนั้นเป็นตัวแปรตาม และอีก
ตัวแปรหนึ่งเป็นตัวแปรอิสระ
โจทย์ต้องการทำนายค่าของ x แสดงว่า x เป็นตัวแปรตาม และ y เป็นตัวแปรอิสระ
สมการจะเปลี่ยนจาก y = mx + c เป็น   x = my + c  และสมการปกติก็จะเปลี่ยนเป็น         
แทนค่าในสมการปกติจะได้   56  =  40m + 8c…………………(1)
364       =  256m + 40c……………….(2)
จากการแก้สมการจะได้  m = 1.5  , c = - 0.5
จะได้สมการของความสัมพันธ์คือ     x = 1.5y -  0.5

แทนค่า  y =  3.5   จะได้  x =  1.5 (3.5)   -  0.5  =  4.75 ซึ่งมีค่าเท่ากับ 4,750  บาท
แสดงว่า ถ้าใช้จ่ายไปเดือนละ 3,500  บาท จะมีรายได้เดือนละประมาณ  4,750 บาท
                6.2.2 สมการความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่อยู่ในรูปพาราโบลา
สมการรูปทั่วไปของพาราโบลาคือ           เมื่อ   a,b และ c เป็นค่าคงตัว
เป็นตัวแปรอิสระ  และ   y เป็นตัวแปรตาม  หาค่า a , b และ c ได้จากสมการปกติ คือ
ตัวอย่างที่  1 จากความสัมพันธ์ของข้อมูลต่อไปนี้

x
1
2
3
4
5
6
7
y
6
5
3
2
3
4
7
ก.      จงเขียนแผนภาพการกระจาย


. จงประมาณค่าของ เมื่อ  x = 10
                เป็นสมการพาราโบลา    หาค่าของ a , b และ c ได้จากสมการปกติ





แทนค่าลงในสมการปกติ

















                    30  = 140a + 28b+ 7c……………...(1)
                                  121= 784a + 140b + 28c…………..(2)
                                  647= 4676a + 784b + 140c………..(3)

                            4(1),       120 = 560a +112b +28c……………………(4)
                                (2)-(4),       1 = 224a +28b…………………………...(5)
                                20(1),     600 = 2800a + 560b +140c………………...(6)
                                (3)-(6),     47 = 1876a + 224b………………………..(7)
                                8(5),           8 = 1792a + 224b………………………..(8)
                                (7)-(8),     39 = 84a จะได้ a = 0.464
                                b = -3.676   ,  c = 9.71  จะได้สมการของความสัมพันธ์คือ       
         


             x  เป็นตัวแปรอิสระ , y เป็นตัวแปรตาม   เพื่อให้สะดวกในการคำนวณ จะเปลี่ยนรูปของสมการใหม่โดยการใส่ log เข้าทั้งสองข้าง จะได้รูปของสมกา
ค.จงประมาณค่าของ เมื่อ  y = 10  
                ต้องการหาค่า x  แสดงว่า x  เป็นตัวแปรตาม  และ เป็นตัวแปรอิสระ
                สมการรูปทั่วไปจะเปลี่ยนเป็น x = ay^2+by+c และสมการปกติจะเปลี่ยนเป็น


 
121= 810a + 148b + 30c…………….(2)
                613= 4756a + 810b + 148c………….(3)
                30(1),    840 = 4440a + 900b + 210c…………..(4)
                7(2),      847 = 5670a + 1036b + 210c…………(5)
                (5)-(4),      7 = 1230a + 136b…………………..(6)
                74(2),  8954 = 59940 a+ 10952b  + 2220c…….(7)
                15(3),  9195 = 71340a + 12150b + 2220c……..(8)
                (8) –( 7), 241= 11400 a + 1198b………………(9)
                599(6) , 4193 = 736770a + 81464b……………(10)
                68(9),  16388 = 775200a + 81464b……………(11)
                (11)-(10),12195 =  38430a  จะได้ a = 0.317  , b = -2.815 , c = 9.362 
                จะได้สมการของความสัมพันธ์คือ 

                ถ้า y =  10 จะได้  x = (0.317)(100) + (-2.815)(10) + 9.362 =  12.912

.2.3 สมการความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่อยู่ในรูปเอกซ์โพเนนเชียล
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันที่อยู่ในรูปเอกซ์โปเนนเชียลจะมีสมการรูปทั่วไปคือ

             x  เป็นตัวแปรอิสระ , y เป็นตัวแปรตาม   เพื่อให้สะดวกในการคำนวณ จะเปลี่ยนรูปของสมการใหม่โดยการใส่ log เข้าทั้งสองข้าง จะได้รูปของสมการเป็น
         ซึ่งจะได้          log y = log a + x log b                         
                                                                                                                                                                                     มีตัวไม่ทราบค่า 2 ตัวคือ log a กับ log b ซึ่งหาได้จากสมการปกติคือ



ตัวอย่างที่  1 จากตารางแสดงการทดลองความเจริญเติบโตของต้นถั่วตามเวลาที่กำหนดได้ข้อมูล
ความสัมพันธ์ดังนี้

เวลา(สัปดาห์)(X)
1
2
3
4
5
6
7
8
ความสูง(ซม)(Y)
1
1.5
3
5
11
21
43
85

 
 

       

ก.      จงเขียนแผนภาพการกระจาย

ข.      ในสัปดาห์ที่ 10  ต้นถั่วจะสูงประมาณกี่เมตร
วิธีทำ  เนื่องจากความสัมพันธ์เป็นเอกซ์โพเนนเชียลจะได้สมการรูปทั่วไปคือ
         log y = log a + x log b  หาค่า log a  และ  log bจากสมการปกติคือ 
               

 

แทนค่าในสมการปกติจะได้       7.2878  = 36 log b + 8 log a…………………..(1)
44.5884      = 204 log b + 36 log a………………..(2)

จากการแก้สมการจะได้   log a = -0.3583    ,   log b =  0.2818
จะได้สมการของความสัมพันธ์คือ   log  y  =   - 0.3583 + 0.2818 x
ถ้า    x = 10   จะได้
          log  y  =   - 0.3583 + 0.2818  (10)
                      = -0.3583 + 2.818 =   2.4597
Anti log  y จะได้   y = 288   เพราะฉะนั้นในสัปดาห์ที่ 10 ต้นถั่วจะสูงประมาณ 288 ซม.
หรือเท่ากับ 2.88 เมตร

                6.3 ข้อมูลที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา
ได้แก่ข้อมูลซึ่งแต่ละค่าของข้อมูลเกิดขึ้นตามช่วงเวลา โดยทั่วไปแล้วมักจะเป็นช่วงเวลาที่เท่ากัน
ดังนั้นข้อมูลที่เกิดขึ้นจะต้องมีความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันกับเวลา
          ถ้าให้ข้อมูลที่สนใจศึกษาคือ  และระยะเวลาคือ x จะได้ความสัมพันธ์คือ  
เมื่อ x คือตัวแปรอิสระ และ คือตัวแปรตาม
                การแทนค่า x ในเรื่องของเวลา
-                   ถ้าจำนวนเวลาเป็นจำนวนคี่  ให้แทนค่าเวลาด้วยค่า x ดังนี้
-                   ถ้าจำนวนเวลาเป็นจำนวนคู่   ให้แทนค่าเวลาด้วยค่า x ดังนี้        

                             


ตัวอย่างที่ 1 ข้อมูลต่อไปนี้แสดงจำนวนภาษีที่บริษัทแห่งหนึ่งต้องชำระให้แก่กรมสรรพากร
ตั้งแต่ปี พ.. 2529 – 2534
..
2529
2530
2531
2532
2533
2534
ภาษี(พันบาท)
2
6
10
13
16
18

ก.      จงเขียนแผนภาพการกระจาย
..
2529
2530
2531
2532
2533
2534
x
-5
-3
-1
1
3
5
ภาษี(พันบาท)
2
6
10
13
16
18

วิธีทำ


   จงทำนายภาษีที่บริษัทแห่งนี้ต้องชำระให้แก่กรมสรรพากรในปี พ.. 2535 และพ..2540
วิธีทำ  ความสัมพันธ์มีลักษณะเส้นตรงมีสมการรูปทั่วไปคือ  Y = mX + c หา m กับ c จากสมการ



                          









 





แทนค่าในสมการปกติ   ….. = ….. ……………(1)    จะได้  ……. = ………
                                    ……. = …… …………..(2)      จะได้ …… = ………
จะได้สมการของความสัมพันธ์คือ   y = ……….x + ………….
ปี พ.. 2535 แทน x  ด้วย ……… จะได้  y = ………. …+ …………..=…. …………………
ปี พ.. 2540 แทน x ด้วย ……… จะได้  y = …………..+ …….. ……=……………………
ตัวอย่างที่ 2 ข้อมูลต่อไปนี้แสดงเนื้อหมูโดยเฉลี่ย(กก.) ที่แต่ละคนในท้องที่แห่งหนึ่งบริโภคต่อปี
ในระหว่าง  พ.. 2526 ถึง พ.. 2534
..
2526
2527
2528
2529
2530
2531
2532
2533
2534
ปริมาณเนื้อหมู(กก.)
6
10.5
14
14.8
15
14
13
10
8
ก.      จงเขียนแผนภาพการกระจาย
                                                                                                                                                                           
                                                                                     




เพิ่มคำอธิบายภาพ






 


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น